แชร์

ในการทำยูทูปเปอร์ หรือ การเป็นอินฟูลเอนเซอร์ ต้องมีการทำสัญญากับทีมงาน หรือไม่ เพื่ออะไร?

อัพเดทล่าสุด: 16 ก.พ. 2025
193 ผู้เข้าชม

                ปัญหาเหล่านี้  อาจจะนำมาสู่การฟ้องคดีได้ในอนาคต  ทั้งในคดีแพ่ง คดีอาญา คดีลิขสิทธิ์ คดีทรัพย์สินทางปัญญา  คดีพรบคอมพิวเตอร์ กฎหมายข้อมูลส่วนบุคคล  เช่น  การที่ทีมงานนำภาพ ของยูทูปเปอร์ ไปหาผลประโยชน์ในทางส่วนตัว และกระทบกับภาพลักษณ์ที่คนทั่วไปเชื่อถือ   หรือกระทบเกี่ยวกับงาน  การรับงานที่ขัดแย้งกับยูทูปคนดัง  ข้างต้น

               หรือ  ทีมงานอาจจะเป็นการใส่เนื้อหาเท็จ หรือเนื้อหาที่เสื่อมเสีย  จนนำมาสู่การฟ้องคดีกันที่ศาล  จักต้องทำอย่างไร  เพื่อเป็นการป้องกัน ปัญหาการฟ้องคดีจากบุคคลภายนอก  หรือ คนที่เป็นคู่แข่งของรายการยูทูปดังกล่าว หรืออินฟูลคนดัง  

               หรือ   เป็นการนำไปใช้แอบอ้าง ในทางธุรกิจ โดยที่เจ้าตัวไม่ทราบ และ  เสี่ยงต่อการนำภาพเสียง คลิปไปใช้  โดยผิดกฎหมาย เช่น ภาพการค้าประเวณี หรือ เพื่อการอนาจารต่อสาธารณะ  

                หรือ การนำคลิปไปใช้ในการอาชญากรรม  หลอกลวงประชาชนให้ได้รับความเสียหาย และส่งกระทบต่อชื่อเสียงที่ดีในอนาคต

                ดังนั้น  การทำสัญญาเป็นการคุ้มครองในผลงานลิขสิทธิ์ของยูทูปเปอร์ หรืออินฟูลคนดัง มีผลช่วยป้องกันชื่อเสียง  ป้องกันการนำไปใช้ในสิ่งที่ผิดกฎหมายอาชญากรรม  ป้องกันการหลอกลวง  ป้องกันผู้ติดตามเข้าใจผิดในอนาคต   คุ้มครองเนื้อหาที่เป็นประโยชน์ในด้านธุรกิจ   เพิ่มความเข้มข้นในการวางแผนสู่มาตรฐานทางกฎหมาย   เพื่อไม่ให้ถูกเอาเปรียบ  และสร้างความเชื่อมั่นกับผู้บริโภคได้ตามกฎหมาย

เขียนโดย

ทนายความตรีสุพจน์ ตันตยาภิรมย์กุล

#ทนายความ #ทนายความของยูทูปเบอร์ #ที่ปรึกษากฎหมายยูทูปเปอร์

 

 


บทความที่เกี่ยวข้อง
ผู้จำนอง ซึ่งเป็นลูกหนี้  สามารถต่อสู้คดีกับเจ้าหนี้ผู้รับจำนองได้หรือไม่ ?
ในกรณีที่เจ้าหนี้ มีการเรียกเก็บดอกเบี้ยผิดกฎหมาย มีการเรียกเก็บดอกเบี้ย เกินกว่าที่กฎหมายกำหนด โดยตั้งแต่ปีพ.ศ.2564 กฎหมายกำหนดไม่เกินร้อยละ 3 ต่อปี หากมีการเรียกเก็บดอกเบี้ยเกินกำหนด มีการหักดอกเบี้ยจากต้นเงิน เหล่านี้ ลูกหนี้ซึ่งเป็นผู้รับจำนองย่อมต่อสู้คดีได้ตามกฎหมาย เป็นข้อต่อสู้ที่มีกฎหมาย มีข้อกฎหมายให้นำพยานหลักฐานมาพิสูจน์ ในการสืบพยานได้
6 เม.ย. 2025
อย่างไร? เป็นการกระทำที่เป็นความผิด " เบิกความเท็จ "  ในคดีอาญา  เป็นอย่างไร?
การกล่าวความเท็จในวันสืบพยานในคดีอาญา นั้นเป็นสิ่งต้องห้าม ไม่สามารถกระทำได้ และมีโทษหนักมากนะครับ การกล่าวความเท็จ เป็นผลเสียต่อผู้กล่าวความเท็จ ผู้ที่นำความเท็จมากล่าวต่อหน้าศาลในคดีอาญา โดยรู้ความจริงอยู่แล้ว และเจตนานำความเท็จมากล่าวในการสืบพยานของศาลในคดีอาญา ความผิดสำเร็จทันที ที่รู้ความจริงแล้วยังกล่าวเท็จต่อศาลอีก ส่วนกรณีเท็จแล้วเท็จอีกมีได้มั้ย ก็อาจจะมีได้ ถ้าผู้กระทำความผิดได้กระทำความผิดในหลายคดี มากกว่าหนึ่งคดี เพราะเจตนาให้ศาลทราบความเท็จ หรือ มีสาเหตุกันมาก่อน มีการโกรธเคืองจึงดำเนินคดีอาญาต่อกัน และนำความเท็จมากล่าวด้วยสาเหตุดังกล่าว
6 เม.ย. 2025
การกระทำความผิดในข้อหา ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น เป็นอย่างไร?
ในปัจจุบัน มีการสร้างงานอันเป็นงานสร้างสรรค์มากกว่า ในหลายปีที่ผ่านมา เพราะทุกวันนี้ มีแอปพลิเคชั่น ที่เผยแพร่งานลิขสิทธิ์ ได้มากกว่าหลายปีที่ผ่านมา เช่น การสร้างสรรค์ผลงานด้านการตลาด การสร้างสรรค์ผลในความตลก การสร้างสรรค์ผลงานเพลง การสร้างสรรค์ผลงานละครหรือเรื่องสั้นต่างๆ การสร้างสรรค์การลำดับภาพต่างๆ มีกฎหมายพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์คุ้มครองผลงานสร้างสรรค์เหล่านี้ และมีข้อยกเว้น การเผยแพร่ข่าวสารทั่วไป ซึ่งไม่ใช่ลิขสิทธิ์ เพราะเปิดโอกาสให้สังคมรับทราบข่าวสารทั่วไป การเผยแพร่กฎหมายต่างๆ ไม่ใช่การลิขสิทธิ์แต่อย่างใด เพราะต้องการให้สังคมรับทราบกฎหมายต่างๆ ข้อยกเว้นที่ไม่เป็นความผิดในข้อหาละเมิดลิขสิทธิ์ จึงมีความสำคัญเช่นกัน ในการฟ้องคดีพรบ ลิขสิทธิ์ และการต่อสู้คดีลิขสิทธิ์
5 เม.ย. 2025
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้
เปรียบเทียบสินค้า
0/4
ลบทั้งหมด
เปรียบเทียบ
Powered By MakeWebEasy Logo MakeWebEasy