เมื่อนิติบุคคลหมุ่บ้านจัดสรร ไม่จัดเก็บขยะ ทำให้เกิดสิ่งสกปรกแก่สมาชิกผู้อยุ่อาศัย จักต้องทำอย่างไร?
อัพเดทล่าสุด: 6 ม.ค. 2025
43 ผู้เข้าชม
กรณีผู้จัดการมรดก เพิกเฉยไม่จัดเก็บขยะ แล้วเกิดความสกปรกแก่บ้านของสมาชิก โดยอ้างว่าแจ้งกับทางองค์การบริหารส่วนตำบลแล้ว ( อบต) เป็นหน้าที่จัดเก็บขยะของ อบต. ทาง ผู้จัดการไม่มีอุปกรณ์ไปจัดเก็บขยะ ทั้งๆที่มีการจัดเก็บเงินค่าส่วนกลาง และสามารถจ้างรถไรเดอร์มาจัดเก็บขยะได้ แต่เอาเปรียบสมาชิกหมู่บ้านจัดสรร
ตอนที่หมู่บ้านยังไม่จัดตั้งเป็นนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร ทางโครงการก็จักให้มีการจัดเก็บขยะ เพื่อไม่ให้เกิดการหมักหมุมของกลิ่นไม่พึงประสงค์ ไม่ให้มีขยะค้างนานเกินไป อาจจะมีการจัดเก็บทุกวัน ต่อมาผู้จัดการบ้านไปดำเนินการจัดเก็บขยะ สัปดาห์ละ 2 วัน ซึ่งทำให้สมาชิกท่านใดเดือดร้อน ก็ให้ดำเนินการจ้างไรเดอร์มาจัดเก็บขยะไปทิ้ง และเก็บใบเสร็จการโอนเงินไว้ เพื่อดำเนินการฟ้องร้อง ผู้จัดการหมู่บ้าน ที่เป็นตัวแทนของหมู่บ้าน เป็นคดีผู้บริโภคได้ตามกฎหมาย
ทุกวันนี้ กฎหมายที่มีทางออกให้กับสมาชิกหมู่บ้านจัดสรรนะครับ
เขียนโดย
ทนายความตรีสุพจน์ ตันตยาภิรมย์กุล
#ทนายความ #คดีหมู่บ้านจัดสรร
บทความที่เกี่ยวข้อง
ผู้จัดการหมู่บ้านที่สร้างอิทธิพล มีการนำแรงงานต่างด้าวเข้ามาเป็นลูกจ้าง คนสวน นำต่างด้าวมาเป็น เจ้าหน้ารักษาความปลอดภัย และมีความสัมพันธ์ที่ดีกับทางเจ้าหน้าที่รัฐ สร้างอิทธิพล วางอำนาจ ก่อความรำคาญกับสมาชิกท่านใด? มีทางออกอย่างไร?
6 ม.ค. 2025
สำนักอบรมวิชาว่าความของสภาทนายความ ได้มีข้อกำหนดในการฝึกหัดงานในสำนักงานทนายความ แบบ 1 ปี เพื่อให้ผู้ที่จะเตรียมตัวสอบใบอนุญาตเป็นทนายความ ได้ฝึกงานในสำนักงานทนายความจริง และในแต่ละสำนักงานทนายความ ก็จักมีระเบียบข้อบังคับในการฝึกหัดเพื่อสอบใบอนุญาตทนายความ อย่างไร?
6 ม.ค. 2025
เมื่อมีการรถชนกันนั้น เป็นหน้าที่ของพนักงานสอบสวน จักต้องไปที่เกิดเหตุ เพื่อตรวจสอบที่เกิดเหตุ และนำมาลงบันทึกที่เกิดเหุต รายละเอียดเกี่ยวกับรถที่ชนกัน ใครเป็นผู้ขับขี่รถที่ชนกัน เกิดเหตุที่จุดใด มีใครได้รับบาดเจ็บบ้าง กี่ราย และตรวจสอบกล้องวงจรปิดที่มองเห็นการชนได้ชัดเจน เพื่อรวบรวมพยานหลักฐานต่อไป เพื่อสรุปสำนวนว่าฝ่ายใด เป็นฝ่ายที่ผิดกฎหมาย และจักต้องเรียกร้องค่าเสียหายกับใครบ้างต่อไป
6 ม.ค. 2025